Faculty of Social Sciences and Humanities celebrates students success
Thousands of teenagers across the US will have school lessons in mindfulness in an experiment designed to see
Thousands of teenagers across the US will have school lessons in mindfulness in an experiment designed to see
Thousands of teenagers across the US will have school lessons in mindfulness in an experiment designed to see
The upcoming budget for the Chicago Public Schools will rely on $500 million in yet-to-be-enacted pension savings
The upcoming budget for the Chicago Public Schools will rely on $500 million in yet-to-be-enacted pension savings
The upcoming budget for the Chicago Public Schools will rely on $500 million in yet-to-be-enacted pension savings
พันธกิจ หลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อประกาศนียบัตรในวิชาชีพเวชกรรมด้านวิสัญญีวิทยาสำหรับการระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนและการระงับปวดเฉียบพลัน ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอดสาขาการจัดการทางเดินหายใจขั้นสูง มีเป้าหมายให้ผู้ที่สำเร็จฝึกอบรม มีความรู้ความชำนาญในเวชปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการทางเดินหายใจขั้นสูง หรือภาวะที่เกี่ยวกับ difficult airway และมีทักษะรอบด้านของบุคคล (non – technical skills) สามารถพัฒนาตนเองรวมถึงผู้อื่นที่เกี่ยวข้อง ผู้ที่สำเร็จหลักสูตรต้องสามารถถ่ายทอดวิชาความรู้ ให้แก่บุคคลากรทางการแพทย์อื่นๆ ต่อไปในอนาคต รวมถึงสามารถพิจารณาวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องอย่างมีระบบและน่าเชื่อถือ เพื่อนำมาปรับใช้ในทางเวชปฏิบัติ และมีหลักในการดูแลผู้ป่วยอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม โดยต้องคำนึงถึงผู้ป่วยเป็นองค์รวม
อ.พญ.วิภาดา ติงธนาธิกุล
WIPADA TINGTHANATHIKUL, MD
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
ความชำนาญและความสนใจ
– Airway management
อ.พญ.พรรณิกา วรผลึก
PANNIKA VORAPALUK, MD
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
– อนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาวิสัญญีวิทยาสำหรับเด็ก
– อนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว
– Certification in Acupuncture, Chinese Medicine of Medical Services, Ministry of Public Health, Thailand and Shanghai University of Traditional Chinese Medicine.
– Certificate in Craniofacial and Pediatric Anesthesia Fellowship Program, Chang Gung Memorial Hospital, Tao-Yuan County, Taiwan.
ความชำนาญและความสนใจ
– Regional anesthesia
– Pediatric anesthesia
– Anesthesia for craniofacial surgery
– Airway management
คุณสมบัติ
รศ.พญ.ลาวัลย์ ตู้จินดา
LAWAN TUCHINDA, MD
ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
– หนังสืออนุมัติ แสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีเวชกรรม อนุสาขาวิสัญญีวิทยาสำหรับผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท
– Certificate in Anesthesiology, New York Medical College, Valhalla, New York, US
ความชำนาญและความสนใจ
– Neuroanesthesia
– Neuromonitoring
– Neurocritical care
พันธกิจ หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอดเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาวิสัญญีวิทยาสำหรับผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“ผลิตวิสัญญีแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคทางระบบประสาทที่มีคุณภาพ กอปรด้วยคุณธรรม สร้างงานวิจัยที่มีคุณค่า ให้บริการทางการแพทย์ และวิชาการ เพื่อชี้นำสังคม เป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการของชาติ และนานาชาติ ประชาคมมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความภูมิใจในสถาบัน”
คุณสมบัติ
ไม่จำกัดผลการเรียน (GPAX) ในอดีต
ไม่จำกัดเพศ ศาสนา
ไม่จำกัดภาวะทุพลภาพที่ไม่ส่งผลกระทบต่อการเรียน
เกณฑ์การคัดเลือก
ภาควิชาฯ แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือก ประกอบด้วย
คณะกรรมการคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรมและเกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรม เป็นไปตามการแต่งตั้ง และหลักเกณฑ์ของภาควิชาวิสัญญีวิทยา โดยยึดหลักความโปร่งใส เท่าเทียม มีจริยธรรม และตรวจสอบได้
เกณฑ์การประเมินในหัวข้อ
การประกาศผลการคัดเลือก
ประกาศภายใน 3 วันหลังจากวันที่ประเมิน (แจ้งส่วนตัว) และภายใน 5 วัน (หน้าเวปแพทยสภา)
การอุทธรณ์ผลการคัดเลือก
ติดต่อประธานหลักสูตรอนุสาขาภายใน 7 วันทำการจากวันที่รับทราบผลเป็นทางการ โดยผู้สมัครสามารถขอเข้ารับคำชี้แจงเหตุผล และคะแนนของตนเองได้ หากได้รับคำชี้แจงแล้ว อาจทำการอุทธรณ์ผลการคัดเลือกได้ครั้งที่ 2 ผ่านทางแพทยสภา
“ผลิตวิสัญญีแพทย์เฉพาะทางสาขาวิสัญญีวิทยาสาหรับเด็กท่ีมีคุณภาพและคุณธรรม เพื่อการบริการทางวิสัญญีวิทยาสาหรับเด็ก สามารถสร้างงาน วิจัยท่ีมีคุณค่าต่อสังคม มีความภาคภูมิใจในสถาบัน และมีอัตลักษณ์ของบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย”
ผศ.พญ.พรอรุณ เจริญราช
PORNARUN CHAROENRAJ, MD
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
– อนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีเวชกรรม อนุสาขาวิชาวิสัญญีวิทยาสำหรับเด็ก
– Certification in pediatric anesthesia, Indiana University Medical Center, Indianapolis, Idiana, USA
ความชำนาญและความสนใจ
– Pediatric anesthesia
– Anesthesia for craniofacial surgery
– Airway management
ปีการศึกษา | ผู้มาสมัคร | ผู้ผ่านการคัดเลือก | ||
มีต้นสังกัด | อิสระ | มีต้นสังกัด | อิสระ | |
2557 | 1 | – | 1 | – |
2558 | 1 | 1 | 1 | 1 |
2559 | – | 1 | – | 1 |
2560 | 2 | – | 2 | – |
2561 | 1 | – | 1 | – |
2562 | 3 | – | 3 | – |
2563 | 1 | 1 | 1 | 1 |
คุณสมบัติ
ไม่จำกัดผลการเรียน (GPAX) ในอดีต
ไม่จำกัดเพศ ศาสนา
ไม่จำกัดภาวะทุพลภาพที่ไม่ส่งผลกระทบต่อการเรียน
เกณฑ์การคัดเลือก
ภาควิชาฯ แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือก ประกอบด้วย
คณะกรรมการคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรมและเกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรม เป็นไปตามการแต่งตั้ง และหลักเกณฑ์ของภาควิชาวิสัญญีวิทยา โดยยึดหลักความโปร่งใส เท่าเทียม มีจริยธรรม และตรวจสอบได้
ช่วงเวลาสัมภาษณ์
เดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม ของทุกปี
เกณฑ์การประเมินในหัวข้อ
การประชุมหาข้อสรุปอย่างเป็นเอกฉันท์จากคณะกรรมการ สำหรับผู้ที่ผ่านเกณฑ์
การประกาศผลการคัดเลือก
ประกาศภายใน 3 วันหลังจากวันที่ประเมิน (แจ้งส่วนตัว) และภายใน 5 วัน (หน้าเวป-แพทยสภา)
การอุทธรณ์ผลการคัดเลือก
ติดต่อประธานหลักสูตรอนุสาขาภายใน 7 วันทำการจากวันที่รับทราบผลเป็นทางการ โดยผู้สมัครสามารถขอเข้ารับคำชี้แจงเหตุผล และคะแนนของตนเองได้ หากได้รับคำชี้แจงแล้ว อาจทำการอุทธรณ์ผลการคัดเลือกได้ครั้งที่ 2 ผ่านทางแพทยสภา
รศ.นพ.ปิ่น ศรีประจิตติชัย
PIN SRIPAJITTICHAI, MD
ตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
– Certificate of Fellowship in Pain Management, Vanderbilt University, USA
– อนุบัติบัตรแสดงความรู้ ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาการระงับปวด
– วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาสุขภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– Certificate in Acupuncture, Department of Medical Services, Mistry of Public Health, Thailand and Shanghai University of Traditional Chinese medicine
ความชำนาญและความสนใจ
– Pain management
เกณฑ์การรับเข้าฝึกอบรม
คุณสมบัติของผูเขารับการฝกอบรม
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ต้องเป็นผู้ที่มีความประพฤติดี มีสุขขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคหรือความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการฝึกอบรม การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (อ้างอิงตามประกาศกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย เรื่อง “คุณสมบัติเฉพาะของผู้สมัครเข้าศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับ พ.ศ.2559”) รวมทั้งมีคุณสมบัติอื่นๆ ตามที่แพทยสภากําหนด แบ่งประเภทผู้เข้าฝกอบรมเปน 4 ประเภท ดังน้ี
เกณฑ์การคัดเลือก
แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือก ประกอบด้วย
ช่วงเวลาสัมภาษณ์
เดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม ของทุกปี
เกณฑ์การประเมิน (ผ่าน คือ >ร้อยละ 70) ในหัวข้อ
การประชุมหาข้อสรุปอย่างเป็นเอกฉันท์จากคณะกรรมการ สำหรับผู้ที่ผ่านเกณฑ์
การประกาศผลการคัดเลือก
ประกาศภายใน 3 วันหลังจากวันที่ประเมิน (แจ้งส่วนตัว) และภายใน 5 วัน (หน้าเวป-แพทยสภา)
การอุทธรณ์ผลการคัดเลือก
ติดต่อประธานหลักสูตรอนุสาขาภายใน 7 วันทำการจากวันที่รับทราบผลเป็นทางการ โดยผู้สมัครสามารถขอเข้ารับคำชี้แจงเหตุผล และคะแนนของตนเองได้ แต่ไม่สามารถขอดูคะแนนของผู้สมัครคนอื่น หากได้รับคำชี้แจงแล้ว อาจทำการอุทธรณ์ผลการคัดเลือกได้ครั้งที่ 2 ผ่านทางแพทยสภา
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอดเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาเวชบำบัดวิกฤต มีเป้าหมายให้แพทย์ประจำบ้านต่อยอดที่สำเร็จการฝึกอบรม เป็นแพทย์เวชบำบัดวิกฤตที่มี ความรู้ความสามารถและทักษะ ทั้งในด้านการรักษา การศึกษาต่อเนื่อง ความสามารถในการทำงานแบบมืออาชีพ ปฏิบัติงานแบบสหวิชาชีพเป็นทีมได้ ร่วมกับมีความสามารถในการดำเนินการวิจัย มีเจตนารมณ์และเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความเอื้ออาทรและใส่ใจในความปลอดภัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการส่งเสริมสุขภาพ โดยยึดหลักผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางบนพื้นฐานของการดูแลแบบองค์รวมและสอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพในการดูแลผู้ป่วย มีพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อเพื่อนร่วมงานทั้งในวิชาชีพของตนเองและวิชาชีพอื่นๆ รวมทั้งผู้ป่วยและญาติ และสามารถบริหารจัดการในการให้บริการผู้ป่วยทางเวชบำบัดวิกฤตได้อย่างสมบูรณ์ครบวงจรตามความต้องการของประเทศไทยและสามารถเทียบเทียมนานาชาติได้
โดยสาขาวิชาเวชบำบัดวิกฤต ได้กำหนดพันธกิจของการฝึกอบรมให้สอดคล้องไปกับพันธกิจของการฝึกอบรมของสมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย ดังนี้
ผศ.นพ.สหดล ปุญญถาวร
SAHADOL POONYATHAWON, MD
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
– อนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีเวชกรรม อนุสาขาเวชบำบัติวิกฤต
– Certificate in Fellowship of Critical Care, Mayo Clinic, Minnesota, USA
ความชำนาญและความสนใจ
– Critical care
– Anesthesia for organ transplantation
แพทย์หญิงญาดา ทองสุข
YADA THONGSUK, MD
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
ความชำนาญและความสนใจ
– Cardiothoracic and vascular anesthesia
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก เต็มตามศักยภาพ
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก เต็มตามศักยภาพ
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก และมีจิตสำนึกถึงความรับผิดชอบทางสังคม
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก ครอบคลุมตามเกณฑ์ของหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอดเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมอนุสาขาวิสัญญีวิทยา สำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอกที่มีความเป็นมืออาชีพ
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก ที่สามารถดูแลผู้ป่วยให้ปลอดภัยได้จริงด้วยตนเอง
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก ที่สามารถดูแลผู้ป่วยแบบสหวิชาชีพ และสามารถทำงานเป็นทีม
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก ที่สามารถตัดสินใจที่เหมาะสม โดยมีการใช้มิติ บริบท/สถานการณ์ ประสิทธิภาพ
ศ.ดร.พญ.วัชริน สินธวานนท์
WACHARIN SINDHVANANDA, MD
ตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว
– Certificate in Cardiothoracic Anesthesia and Intensive care, Goteborg University, Goteborg, Sweden
– สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
– ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ความชำนาญและความสนใจ
– Cardiothoracic and vascular anesthesia
– Critical care
ปีการศึกษา | ผู้มาสมัคร | ผู้ผ่านการคัดเลือก | ||
มีต้นสังกัด | อิสระ | มีต้นสังกัด | อิสระ | |
2556 | 2 | – | 2 | – |
2557 | 2 | 1 | 2 | – |
2558 | – | – | – | – |
2559 | 2 | – | 2 | – |
2560 | 1 | 2 | 1 | 2 |
2561 | 1 | – | 1 | – |
2562 | 2 | 1 | 2 | 1 |
ปีการศึกษา | ผู้มาสมัคร | ผู้ผ่านการคัดเลือก | ||
มีต้นสังกัด | อิสระ | มีต้นสังกัด | อิสระ | |
2556 | 2 | – | 2 | – |
2557 | 2 | 1 | 2 | – |
2558 | – | – | – | – |
2559 | 2 | – | 2 | – |
2560 | 1 | 2 | 1 | 2 |
2561 | 1 | – | 1 | – |
2562 | 2 | 1 | 2 | 1 |
เกณฑ์การรับเข้าฝึกอบรม
คุณสมบัติ
ไม่จำกัดผลการเรียน (GPAX) ในอดีต
ไม่จำกัดเพศ ศาสนา
ไม่จำกัดภาวะทุพลภาพที่ไม่ส่งผลกระทบต่อการเรียน
เกณฑ์การคัดเลือก
แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือก ประกอบด้วย
ช่วงเวลาสัมภาษณ์
เดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม ของทุกปี
เกณฑ์การประเมิน (ผ่าน คือ >ร้อยละ 70) ในหัวข้อ
การประชุมหาข้อสรุปอย่างเป็นเอกฉันท์จากคณะกรรมการ สำหรับผู้ที่ผ่านเกณฑ์
การประกาศผลการคัดเลือก
ประกาศภายใน 3 วันหลังจากวันที่ประเมิน (แจ้งส่วนตัว) และภายใน 5 วัน (หน้าเวป-แพทยสภา)
การอุทธรณ์ผลการคัดเลือก
ติดต่อประธานหลักสูตรอนุสาขาภายใน 7 วันทำการจากวันที่รับทราบผลเป็นทางการ โดยผู้สมัครสามารถขอเข้ารับคำชี้แจงเหตุผล และคะแนนของตนเองได้ แต่ไม่สามารถขอดูคะแนนของผู้สมัครคนอื่น หากได้รับคำชี้แจงแล้ว อาจทำการอุทธรณ์ผลการคัดเลือกได้ครั้งที่ 2 ผ่านทางแพทยสภา