Faculty of Social Sciences and Humanities celebrates students success
The upcoming budget for the Chicago Public Schools will rely on $500 million in yet-to-be-enacted pension savings
The upcoming budget for the Chicago Public Schools will rely on $500 million in yet-to-be-enacted pension savings
The upcoming budget for the Chicago Public Schools will rely on $500 million in yet-to-be-enacted pension savings
The upcoming budget for the Chicago Public Schools will rely on $500 million in yet-to-be-enacted pension savings
The upcoming budget for the Chicago Public Schools will rely on $500 million in yet-to-be-enacted pension savings
พันธกิจ หลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อประกาศนียบัตรในวิชาชีพเวชกรรมด้านวิสัญญีวิทยาสำหรับการระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนและการระงับปวดเฉียบพลัน ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอดสาขาการจัดการทางเดินหายใจขั้นสูง มีเป้าหมายให้ผู้ที่สำเร็จฝึกอบรม มีความรู้ความชำนาญในเวชปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการทางเดินหายใจขั้นสูง หรือภาวะที่เกี่ยวกับ difficult airway และมีทักษะรอบด้านของบุคคล (non – technical skills) สามารถพัฒนาตนเองรวมถึงผู้อื่นที่เกี่ยวข้อง ผู้ที่สำเร็จหลักสูตรต้องสามารถถ่ายทอดวิชาความรู้ ให้แก่บุคคลากรทางการแพทย์อื่นๆ ต่อไปในอนาคต รวมถึงสามารถพิจารณาวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องอย่างมีระบบและน่าเชื่อถือ เพื่อนำมาปรับใช้ในทางเวชปฏิบัติ และมีหลักในการดูแลผู้ป่วยอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม โดยต้องคำนึงถึงผู้ป่วยเป็นองค์รวม
อ.พญ.วิภาดา ติงธนาธิกุล
WIPADA TINGTHANATHIKUL, MD
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
ความชำนาญและความสนใจ
– Airway management
อ.พญ.พรรณิกา วรผลึก
PANNIKA VORAPALUK, MD
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
– อนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาวิสัญญีวิทยาสำหรับเด็ก
– อนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว
– Certification in Acupuncture, Chinese Medicine of Medical Services, Ministry of Public Health, Thailand and Shanghai University of Traditional Chinese Medicine.
– Certificate in Craniofacial and Pediatric Anesthesia Fellowship Program, Chang Gung Memorial Hospital, Tao-Yuan County, Taiwan.
ความชำนาญและความสนใจ
– Regional anesthesia
– Pediatric anesthesia
– Anesthesia for craniofacial surgery
– Airway management
คุณสมบัติ
รศ.พญ.ลาวัลย์ ตู้จินดา
LAWAN TUCHINDA, MD
ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
– หนังสืออนุมัติ แสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีเวชกรรม อนุสาขาวิสัญญีวิทยาสำหรับผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท
– Certificate in Anesthesiology, New York Medical College, Valhalla, New York, US
ความชำนาญและความสนใจ
– Neuroanesthesia
– Neuromonitoring
– Neurocritical care
พันธกิจ หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอดเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาวิสัญญีวิทยาสำหรับผู้ป่วยโรคทางระบบประสาท ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“ผลิตวิสัญญีแพทย์สำหรับผู้ป่วยโรคทางระบบประสาทที่มีคุณภาพ กอปรด้วยคุณธรรม สร้างงานวิจัยที่มีคุณค่า ให้บริการทางการแพทย์ และวิชาการ เพื่อชี้นำสังคม เป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการของชาติ และนานาชาติ ประชาคมมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความภูมิใจในสถาบัน”
คุณสมบัติ
ไม่จำกัดผลการเรียน (GPAX) ในอดีต
ไม่จำกัดเพศ ศาสนา
ไม่จำกัดภาวะทุพลภาพที่ไม่ส่งผลกระทบต่อการเรียน
เกณฑ์การคัดเลือก
ภาควิชาฯ แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือก ประกอบด้วย
คณะกรรมการคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรมและเกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรม เป็นไปตามการแต่งตั้ง และหลักเกณฑ์ของภาควิชาวิสัญญีวิทยา โดยยึดหลักความโปร่งใส เท่าเทียม มีจริยธรรม และตรวจสอบได้
เกณฑ์การประเมินในหัวข้อ
การประกาศผลการคัดเลือก
ประกาศภายใน 3 วันหลังจากวันที่ประเมิน (แจ้งส่วนตัว) และภายใน 5 วัน (หน้าเวปแพทยสภา)
การอุทธรณ์ผลการคัดเลือก
ติดต่อประธานหลักสูตรอนุสาขาภายใน 7 วันทำการจากวันที่รับทราบผลเป็นทางการ โดยผู้สมัครสามารถขอเข้ารับคำชี้แจงเหตุผล และคะแนนของตนเองได้ หากได้รับคำชี้แจงแล้ว อาจทำการอุทธรณ์ผลการคัดเลือกได้ครั้งที่ 2 ผ่านทางแพทยสภา
“ผลิตวิสัญญีแพทย์เฉพาะทางสาขาวิสัญญีวิทยาสาหรับเด็กท่ีมีคุณภาพและคุณธรรม เพื่อการบริการทางวิสัญญีวิทยาสาหรับเด็ก สามารถสร้างงาน วิจัยท่ีมีคุณค่าต่อสังคม มีความภาคภูมิใจในสถาบัน และมีอัตลักษณ์ของบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย”
ผศ.พญ.พรอรุณ เจริญราช
PORNARUN CHAROENRAJ, MD
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
– อนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีเวชกรรม อนุสาขาวิชาวิสัญญีวิทยาสำหรับเด็ก
– Certification in pediatric anesthesia, Indiana University Medical Center, Indianapolis, Idiana, USA
ความชำนาญและความสนใจ
– Pediatric anesthesia
– Anesthesia for craniofacial surgery
– Airway management
ปีการศึกษา | ผู้มาสมัคร | ผู้ผ่านการคัดเลือก | ||
มีต้นสังกัด | อิสระ | มีต้นสังกัด | อิสระ | |
2557 | 1 | – | 1 | – |
2558 | 1 | 1 | 1 | 1 |
2559 | – | 1 | – | 1 |
2560 | 2 | – | 2 | – |
2561 | 1 | – | 1 | – |
2562 | 3 | – | 3 | – |
2563 | 1 | 1 | 1 | 1 |
คุณสมบัติ
ไม่จำกัดผลการเรียน (GPAX) ในอดีต
ไม่จำกัดเพศ ศาสนา
ไม่จำกัดภาวะทุพลภาพที่ไม่ส่งผลกระทบต่อการเรียน
เกณฑ์การคัดเลือก
ภาควิชาฯ แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือก ประกอบด้วย
คณะกรรมการคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรมและเกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรม เป็นไปตามการแต่งตั้ง และหลักเกณฑ์ของภาควิชาวิสัญญีวิทยา โดยยึดหลักความโปร่งใส เท่าเทียม มีจริยธรรม และตรวจสอบได้
ช่วงเวลาสัมภาษณ์
เดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม ของทุกปี
เกณฑ์การประเมินในหัวข้อ
การประชุมหาข้อสรุปอย่างเป็นเอกฉันท์จากคณะกรรมการ สำหรับผู้ที่ผ่านเกณฑ์
การประกาศผลการคัดเลือก
ประกาศภายใน 3 วันหลังจากวันที่ประเมิน (แจ้งส่วนตัว) และภายใน 5 วัน (หน้าเวป-แพทยสภา)
การอุทธรณ์ผลการคัดเลือก
ติดต่อประธานหลักสูตรอนุสาขาภายใน 7 วันทำการจากวันที่รับทราบผลเป็นทางการ โดยผู้สมัครสามารถขอเข้ารับคำชี้แจงเหตุผล และคะแนนของตนเองได้ หากได้รับคำชี้แจงแล้ว อาจทำการอุทธรณ์ผลการคัดเลือกได้ครั้งที่ 2 ผ่านทางแพทยสภา
รศ.นพ.ปิ่น ศรีประจิตติชัย
PIN SRIPAJITTICHAI, MD
ตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
– Certificate of Fellowship in Pain Management, Vanderbilt University, USA
– อนุบัติบัตรแสดงความรู้ ความชำานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาการระงับปวด
– วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาสุขภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– Certificate in Acupuncture, Department of Medical Services, Mistry of Public Health, Thailand and Shanghai University of Traditional Chinese medicine
ความชำนาญและความสนใจ
– Pain management
เกณฑ์การรับเข้าฝึกอบรม
คุณสมบัติของผูเขารับการฝกอบรม
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ต้องเป็นผู้ที่มีความประพฤติดี มีสุขขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคหรือความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการฝึกอบรม การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (อ้างอิงตามประกาศกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย เรื่อง “คุณสมบัติเฉพาะของผู้สมัครเข้าศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับ พ.ศ.2559”) รวมทั้งมีคุณสมบัติอื่นๆ ตามที่แพทยสภากําหนด แบ่งประเภทผู้เข้าฝกอบรมเปน 4 ประเภท ดังน้ี
เกณฑ์การคัดเลือก
แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือก ประกอบด้วย
ช่วงเวลาสัมภาษณ์
เดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม ของทุกปี
เกณฑ์การประเมิน (ผ่าน คือ >ร้อยละ 70) ในหัวข้อ
การประชุมหาข้อสรุปอย่างเป็นเอกฉันท์จากคณะกรรมการ สำหรับผู้ที่ผ่านเกณฑ์
การประกาศผลการคัดเลือก
ประกาศภายใน 3 วันหลังจากวันที่ประเมิน (แจ้งส่วนตัว) และภายใน 5 วัน (หน้าเวป-แพทยสภา)
การอุทธรณ์ผลการคัดเลือก
ติดต่อประธานหลักสูตรอนุสาขาภายใน 7 วันทำการจากวันที่รับทราบผลเป็นทางการ โดยผู้สมัครสามารถขอเข้ารับคำชี้แจงเหตุผล และคะแนนของตนเองได้ แต่ไม่สามารถขอดูคะแนนของผู้สมัครคนอื่น หากได้รับคำชี้แจงแล้ว อาจทำการอุทธรณ์ผลการคัดเลือกได้ครั้งที่ 2 ผ่านทางแพทยสภา
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอดเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาเวชบำบัดวิกฤต มีเป้าหมายให้แพทย์ประจำบ้านต่อยอดที่สำเร็จการฝึกอบรม เป็นแพทย์เวชบำบัดวิกฤตที่มี ความรู้ความสามารถและทักษะ ทั้งในด้านการรักษา การศึกษาต่อเนื่อง ความสามารถในการทำงานแบบมืออาชีพ ปฏิบัติงานแบบสหวิชาชีพเป็นทีมได้ ร่วมกับมีความสามารถในการดำเนินการวิจัย มีเจตนารมณ์และเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความเอื้ออาทรและใส่ใจในความปลอดภัยเพื่อการแก้ไขปัญหาและการส่งเสริมสุขภาพ โดยยึดหลักผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางบนพื้นฐานของการดูแลแบบองค์รวมและสอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพในการดูแลผู้ป่วย มีพฤติกรรมที่เหมาะสมต่อเพื่อนร่วมงานทั้งในวิชาชีพของตนเองและวิชาชีพอื่นๆ รวมทั้งผู้ป่วยและญาติ และสามารถบริหารจัดการในการให้บริการผู้ป่วยทางเวชบำบัดวิกฤตได้อย่างสมบูรณ์ครบวงจรตามความต้องการของประเทศไทยและสามารถเทียบเทียมนานาชาติได้
โดยสาขาวิชาเวชบำบัดวิกฤต ได้กำหนดพันธกิจของการฝึกอบรมให้สอดคล้องไปกับพันธกิจของการฝึกอบรมของสมาคมเวชบำบัดวิกฤตแห่งประเทศไทย ดังนี้
ผศ.นพ.สหดล ปุญญถาวร
SAHADOL POONYATHAWON, MD
ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
– อนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีเวชกรรม อนุสาขาเวชบำบัติวิกฤต
– Certificate in Fellowship of Critical Care, Mayo Clinic, Minnesota, USA
ความชำนาญและความสนใจ
– Critical care
– Anesthesia for organ transplantation
แพทย์หญิงญาดา ทองสุข
YADA THONGSUK, MD
ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
ความชำนาญและความสนใจ
– Cardiothoracic and vascular anesthesia
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก เต็มตามศักยภาพ
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก เต็มตามศักยภาพ
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก และมีจิตสำนึกถึงความรับผิดชอบทางสังคม
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก ครอบคลุมตามเกณฑ์ของหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอดเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมอนุสาขาวิสัญญีวิทยา สำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอกที่มีความเป็นมืออาชีพ
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก ที่สามารถดูแลผู้ป่วยให้ปลอดภัยได้จริงด้วยตนเอง
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก ที่สามารถดูแลผู้ป่วยแบบสหวิชาชีพ และสามารถทำงานเป็นทีม
ผลิตวิสัญญีแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญทางวิสัญญีวิทยาสำหรับการผ่าตัดหัวใจ หลอดเลือดใหญ่ และทรวงอก ที่สามารถตัดสินใจที่เหมาะสม โดยมีการใช้มิติ บริบท/สถานการณ์ ประสิทธิภาพ
ศ.ดร.พญ.วัชริน สินธวานนท์
WACHARIN SINDHVANANDA, MD
ตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์
วุฒิการศึกษา
– แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
– วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว
– Certificate in Cardiothoracic Anesthesia and Intensive care, Goteborg University, Goteborg, Sweden
– สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
– ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ความชำนาญและความสนใจ
– Cardiothoracic and vascular anesthesia
– Critical care
ปีการศึกษา | ผู้มาสมัคร | ผู้ผ่านการคัดเลือก | ||
มีต้นสังกัด | อิสระ | มีต้นสังกัด | อิสระ | |
2556 | 2 | – | 2 | – |
2557 | 2 | 1 | 2 | – |
2558 | – | – | – | – |
2559 | 2 | – | 2 | – |
2560 | 1 | 2 | 1 | 2 |
2561 | 1 | – | 1 | – |
2562 | 2 | 1 | 2 | 1 |
ปีการศึกษา | ผู้มาสมัคร | ผู้ผ่านการคัดเลือก | ||
มีต้นสังกัด | อิสระ | มีต้นสังกัด | อิสระ | |
2556 | 2 | – | 2 | – |
2557 | 2 | 1 | 2 | – |
2558 | – | – | – | – |
2559 | 2 | – | 2 | – |
2560 | 1 | 2 | 1 | 2 |
2561 | 1 | – | 1 | – |
2562 | 2 | 1 | 2 | 1 |
เกณฑ์การรับเข้าฝึกอบรม
คุณสมบัติ
ไม่จำกัดผลการเรียน (GPAX) ในอดีต
ไม่จำกัดเพศ ศาสนา
ไม่จำกัดภาวะทุพลภาพที่ไม่ส่งผลกระทบต่อการเรียน
เกณฑ์การคัดเลือก
แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือก ประกอบด้วย
ช่วงเวลาสัมภาษณ์
เดือน พฤศจิกายน – ธันวาคม ของทุกปี
เกณฑ์การประเมิน (ผ่าน คือ >ร้อยละ 70) ในหัวข้อ
การประชุมหาข้อสรุปอย่างเป็นเอกฉันท์จากคณะกรรมการ สำหรับผู้ที่ผ่านเกณฑ์
การประกาศผลการคัดเลือก
ประกาศภายใน 3 วันหลังจากวันที่ประเมิน (แจ้งส่วนตัว) และภายใน 5 วัน (หน้าเวป-แพทยสภา)
การอุทธรณ์ผลการคัดเลือก
ติดต่อประธานหลักสูตรอนุสาขาภายใน 7 วันทำการจากวันที่รับทราบผลเป็นทางการ โดยผู้สมัครสามารถขอเข้ารับคำชี้แจงเหตุผล และคะแนนของตนเองได้ แต่ไม่สามารถขอดูคะแนนของผู้สมัครคนอื่น หากได้รับคำชี้แจงแล้ว อาจทำการอุทธรณ์ผลการคัดเลือกได้ครั้งที่ 2 ผ่านทางแพทยสภา